วิธีใช้คำสั่ง man ดังนี้ ให้พิมพ์ man เว้นวรรค แล้วตามด้วยคำสั่งที่อยากดู เช่น man su เพื่อดูคำสั่ง su ดังตัวอย่าง # man su
2.pwd สั่งเพื่อดูสถานะของไดเรกทอรี่ปัจจุบัน ตรวจสอบว่าเรากำลังทำงานอยู่ที่ไดเรกทอรี่ไหน
3.cd cd = change directory คือ คำสั่งเปลี่ยนไดเรกทอรี่นั่นเอง เมื่อสั่ง cd แล้วกด
1. ระบุแบบเต็ม คือต้องใส่ชื่อไดเรกทอรี่เต็ม ๆ ตั้งแต่ไดเรกทอรี่ root เช่น [root@localhost /root] # cd /usr/bin
2. ระบุแบบอ้างอิง วิธีนี้จะขึ้นอยู่กับไดเรกทอรี่ที่ทำงานอยู่ปัจจุบัน เช่น ตอนนี้ อยู่ที่ไดเรกทอรี่ /root ต้องการไปยังไดเรกทอรี่ /usr/x11R6/bin ก็พิมพ์ คำสั่งดังนี้ [root@localhost /root] # cd ../usr/x11R6/bin
เครื่องหมาย .. หมายถึงย้อนกลับไปหนึ่งชั้น แล้วจึงระบุไดเรกทอรี่ที่ต้องการเต็ม ๆ
อีกตัวอย่าง อยู่ที่ไดเรกทอรี่ root ต้องการไปที่ไดเรกทอรี่ temp ที่อยู่ภายใต้
ไดเรกทอรี่ root อีกที ก็พิมพ์คำสั่งดังนี้
[root@localhost /root] # cd temp
เราสามารถพิมพ์ชื่อไดเรกทอรี่ปลายทางได้เลย เพราะว่าอยู่ที่ไดเรกทอรี่ root อยู่
แล้วนั่นเอง
ยังมีวิการสั่งแบบอื่นอีก ดังนี้
คำสั่ง ความหมาย
cd ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ login หรือไดเรกทอรี่ home
cd ~ เหมือนกับ cd
cd / ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ราก
cd /root ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ /root
cd /home ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ /home
cd .. ย้อนกลับไปยังไดเรกทอรี่ก่อนหน้า
cd ~otheruser ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ login ของผู้ใช้ otheruser
cd /dir 1/subdirfo ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ /dir 1/subdirfo
cd ../../dir3/X11 ย้อนกลับไป 2 ชั้นจากปัจจุบัน แล้วไปที่ไดเรกทอรี่
/dir3/X11
cd ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ login หรือไดเรกทอรี่ home
cd ~ เหมือนกับ cd
cd / ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ราก
cd /root ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ /root
cd /home ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ /home
cd .. ย้อนกลับไปยังไดเรกทอรี่ก่อนหน้า
cd ~otheruser ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ login ของผู้ใช้ otheruser
cd /dir 1/subdirfo ย้ายไปยังไดเรกทอรี่ /dir 1/subdirfo
cd ../../dir3/X11 ย้อนกลับไป 2 ชั้นจากปัจจุบัน แล้วไปที่ไดเรกทอรี่
/dir3/X11
4.ls (list นั่นเอง) เป็นคำสั่งใช้
ดูข้อมูลในไดเรกทอรี่ ว่ามีแฟ้มอะไรบ้าง เราสามารถสั่ง ls ได้หลายแบบ
ขึ้นอยู่กับพารามิเตอร์ที่ระบุท้ายคำสั่ง ที่ใช้กันบ่อย ๆ เช่น
ls หมายถึง การดูแฟ้มที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน
ls -a หมายถึง การดูแฟ้มที่ซ่อนอยู่ ใช้คำสั่ง ls ธรรมดาจะไม่เห็น
แฟ้มที่เป็นแฟ้มประเภทซ่อน จะขึ้นต้นแฟ้มด้วย
เครื่องหมายจุด (.)อยู่หน้าแฟ้ม เช่น .abcd1
ls -l หมายถึง การดูข้อมูลแบบยาว ที่มีรายละเอียดกว่าแบบอื่น
จะแสดงข้อมูล Permission, Owner, Group, Size
วันที่สร้างแฟ้ม ถ้าแฟ้มนี้เป็นแฟ้ม link จะแสดงที่อยู่
ของแฟ้มต้นฉบับด้วย
ls -F หมายถึง การดูประเภทของแฟ้มจากสัญลักษณ์ที่อยุ่ท้ายแฟ้ม
เช่น / หมายถึงไดเรกทอรี่, @ หมายถึง symbolic link
* หมายถึงแฟ้มที่รันได้
ls -R หมายถึง การดูข้อมูลทุกไดเรกทอรี่ที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน
ls -S หมายถึง การดูข้อมูลเรียงตามขนาดของแฟ้ม
4.sudo nautilus สำหรับเปิดโฟร์เดอร์ของ root เพื่อดำเนินการต่างในฐานะ root
ดูข้อมูลในไดเรกทอรี่ ว่ามีแฟ้มอะไรบ้าง เราสามารถสั่ง ls ได้หลายแบบ
ขึ้นอยู่กับพารามิเตอร์ที่ระบุท้ายคำสั่ง ที่ใช้กันบ่อย ๆ เช่น
ls หมายถึง การดูแฟ้มที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน
ls -a หมายถึง การดูแฟ้มที่ซ่อนอยู่ ใช้คำสั่ง ls ธรรมดาจะไม่เห็น
แฟ้มที่เป็นแฟ้มประเภทซ่อน จะขึ้นต้นแฟ้มด้วย
เครื่องหมายจุด (.)อยู่หน้าแฟ้ม เช่น .abcd1
ls -l หมายถึง การดูข้อมูลแบบยาว ที่มีรายละเอียดกว่าแบบอื่น
จะแสดงข้อมูล Permission, Owner, Group, Size
วันที่สร้างแฟ้ม ถ้าแฟ้มนี้เป็นแฟ้ม link จะแสดงที่อยู่
ของแฟ้มต้นฉบับด้วย
ls -F หมายถึง การดูประเภทของแฟ้มจากสัญลักษณ์ที่อยุ่ท้ายแฟ้ม
เช่น / หมายถึงไดเรกทอรี่, @ หมายถึง symbolic link
* หมายถึงแฟ้มที่รันได้
ls -R หมายถึง การดูข้อมูลทุกไดเรกทอรี่ที่อยู่ในไดเรกทอรี่ปัจจุบัน
ls -S หมายถึง การดูข้อมูลเรียงตามขนาดของแฟ้ม
4.sudo nautilus สำหรับเปิดโฟร์เดอร์ของ root เพื่อดำเนินการต่างในฐานะ root
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น