สืบเนื่องจากตามลิ้งนี้ครับ http://forum.ubuntuclub.com/forum/topic,15430.0.html หลังจากแก้ปัญหาได้แล้วพอมีเวลาเลยขอเรียบเรียงใหม่ไว้ที่นี่ละกันนะครับ
1. ไปดาวโหลดไดรเวอร์ล่าสุดจากเว็ปนี้ครับ http://www.realtek.com.tw/downloads/downloadsView.aspx?Langid=1&PNid=21&PFid=48&Level=5&Conn=4&ProdID=226&DownTypeID=3&GetDown=false&Downloads=true#2262
2.เมื่อได้ไฟล์นี้ rtl8192se_linux_2.6.0015.0127.2010 มาแล้ว แตกไว้ที่ /home ครับ
3. เปิดเทอมีนัลขึ้นมาแล้ว cd เข้าไปในโฟว์เอดร์นี้ rtl8192se_linux_2.6.0015.0127.2010
4. จากนั้นแปลงร่างเป็น Super User ด้วยคำสั่ง sudo su
5. จากนั้นสั่ง make แล้วรอจนเสร็จ
6. เมื่อเสร็จแล้วสั่ง make install รออีแป๊บหนึ่งจนเสร็จ
7. แล้วรีสตาร์ทหนึ่งครั้ง ไชโยใช้ได้แล้วครับ
วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553
วิธีลงไดรเวอร์ broadcom จากแผ่นติดตั้ง UBUNTU
ตามนี้เลยครับ
1 ลงอูบุนตู9.10 ตามปกติ เสร็จแล้วเครื่องจะให้รีสตาร์ท
2 กลับเข้ามา ลองเช็ค hardware drivers จะเห็นว่าไม่มีไดร์เวอร์อะไรเลย(แต่บางครั้งก็เห็นแต่พอกด activate มันก็จะต่อเนทอย่างเดียว)
3 ที่นี้เราก็ใส่แผ่นติดตั้งอูบุนตูกลับเข้าไป เปิดโปรแกรม synaptic -sitting-repositories ที่ช่อง installable from cd-rom/dvd ให้ติ๊กในช่องสี่เหลี่ยมหน้า cdrom with ubuntu 9.10 เสร็จเรียบร้อยก็ปิดหน้านี้ไป
4 หลังจากนั้นโปรแกรม synaptic จะแสกนหาแพ็คเกจที่ยังไม่ได้ติดตั้ง และถามว่าต้องการอัปเดทหรือเปล่า เราก็ตกลง จากนั้นปิดโปรแกรมไปเลย
5 ไปที่เปิดโปรแกรม hardware drivers อีกที แล้ว activate ได้เลย โปรแกรมก็จะดาวน์โหลดไดร์เวอร์จากแผ่นติดตั้งอูบุนตู9.10 เสร็จแล้วก็รีสตาร์ทเครื่องหนึ่งรอบ เป็นอันเสร็จสิ้น
6 ถ้า hardware drivers ยังมองไม่เห็นให้กลับไปที่โปรแกรม synaptic โดยในช่อง quick search พิมพ์ b43 หรือ sta ในช่องแพ็คเกจด้านขวามือจะเห็นว่ามีไดร์เวอร์ที่ยังไม่ติดตั้ง ถ้าเป็น b43ก็ติดตั้งได้เลย แต่ถ้าเป็น sta เลือก bcmwl-kernel-source แล้วก็ติดตั้ง เสร็จแล้วก็รีสตาร์ท เสร็จเรียบร้อย (ติดตั้งแบบนี้ก็ต้องใช้แผ่นอูบุนตูเหมือนกันนะครับ)
ที่มา : http://forum.ubuntuclub.com/forum?topic=14381.0#msg92307
1 ลงอูบุนตู9.10 ตามปกติ เสร็จแล้วเครื่องจะให้รีสตาร์ท
2 กลับเข้ามา ลองเช็ค hardware drivers จะเห็นว่าไม่มีไดร์เวอร์อะไรเลย(แต่บางครั้งก็เห็นแต่พอกด activate มันก็จะต่อเนทอย่างเดียว)
3 ที่นี้เราก็ใส่แผ่นติดตั้งอูบุนตูกลับเข้าไป เปิดโปรแกรม synaptic -sitting-repositories ที่ช่อง installable from cd-rom/dvd ให้ติ๊กในช่องสี่เหลี่ยมหน้า cdrom with ubuntu 9.10 เสร็จเรียบร้อยก็ปิดหน้านี้ไป
4 หลังจากนั้นโปรแกรม synaptic จะแสกนหาแพ็คเกจที่ยังไม่ได้ติดตั้ง และถามว่าต้องการอัปเดทหรือเปล่า เราก็ตกลง จากนั้นปิดโปรแกรมไปเลย
5 ไปที่เปิดโปรแกรม hardware drivers อีกที แล้ว activate ได้เลย โปรแกรมก็จะดาวน์โหลดไดร์เวอร์จากแผ่นติดตั้งอูบุนตู9.10 เสร็จแล้วก็รีสตาร์ทเครื่องหนึ่งรอบ เป็นอันเสร็จสิ้น
6 ถ้า hardware drivers ยังมองไม่เห็นให้กลับไปที่โปรแกรม synaptic โดยในช่อง quick search พิมพ์ b43 หรือ sta ในช่องแพ็คเกจด้านขวามือจะเห็นว่ามีไดร์เวอร์ที่ยังไม่ติดตั้ง ถ้าเป็น b43ก็ติดตั้งได้เลย แต่ถ้าเป็น sta เลือก bcmwl-kernel-source แล้วก็ติดตั้ง เสร็จแล้วก็รีสตาร์ท เสร็จเรียบร้อย (ติดตั้งแบบนี้ก็ต้องใช้แผ่นอูบุนตูเหมือนกันนะครับ)
ที่มา : http://forum.ubuntuclub.com/forum?topic=14381.0#msg92307
วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
เพิ่มปลั๊กอินมีเดียร์เพลเยอร์เพื่อให้ไฟล์ .3gp มีเสียงสำหรับ UBUNTU
หลังจากคราวที่แล้วได้บันทึกเรื่องราวการลงปลั๊กอินมีเดียเพลเยอร์เพื่อให้โปรแกรม Totem สามารถเล่นไฟล์มีเดียร์ทุกอย่างโดยไม่ต้องลงโปรแกรมตัวอื่นเพิ่มเติมแล้วแต่ยังติดปัญหาว่าเวลาเล่นไฟล์ .3gp ยังไม่สามารถเล่นได้บางไฟล์เล่นได้แต่ไม่มีเสียง ซ้ำร้ายขนาดเปิดใน Real Player ยังเปิดไม่ได้อีก วันนี้ได้วิธีการติดตั้งปลั๊กอินเพิ่มเติมจึงบันทึกไว้รายละเอียดตามนี้
ให้ติดตั้ง ๒ แพ็คเกจนี้เพิ่มเติมครับ
๑. libcdio10 ดาวน์โหลดที่ http://packages.ubuntu.com/lucid/libcdio10
๒. gstreamer0.10-plugins-ugly ดาวน์โหลดที่ http://packages.ubuntu.com/lucid/gstreamer0.10-plugins-ugly
๑. libcdio10 ดาวน์โหลดที่ http://packages.ubuntu.com/lucid/libcdio10
๒. gstreamer0.10-plugins-ugly ดาวน์โหลดที่ http://packages.ubuntu.com/lucid/gstreamer0.10-plugins-ugly
โดยดาวโหลดมาแล้วติดตั้งเป็นอันใช้ได้คราวนี้ .3gp ก็ออกเสียงได้โดยไม่ต้องง้อ Real Player อีก
ที่มา : http://forum.ubuntuclub.com/forum/topic,14027.msg0.html#new
วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
การสร้างบทเรียนโปรแกรมด้วย Open Source LMS (Learning Management System)
การสร้างบทเรียนโปรแกรมสำหรับใช้สอนนักเรียนเป็นงานอดิเรกอีกอย่างที่สนใจศึกษาอยู่แต่ยังไม่มีเวลามากนักตอนนี้จึงเริม่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่งนี้ไว้ก่อนและคงจะได้เริ่มต้นศึกษาอย่างจริงจังต่อไป ทั้งนี้ตัวที่สนใจ คือ Moodle แต่คงต้องลองศึกษาดูก่อนว่าตัวไหนน่าใช้กว่ากัน
บทความนี้คดลอกมาจาก http://www.cmsthailand.com/lms/index.html#lms8
รู้จัก LMS
LMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS ในปัจจุบันมีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะคือ
การนำระบบ LMS ไปประยุกต์ใช้งาน
ระบบ LMS สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลายอาทิ สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน โดยในการนำไปใช้งานผู้ใช้สามารถ ปรับการใช้งานให้เหมาะสมกับหน่วยงาน จุดประสงค์หลักในการพัฒนาระบบขึ้นมาก็เพื่อสร้างระบบการเรียนรู้ใช้งานใน หน่วยงานทั้งระบบ E-Learning หรือระบบ Knowledge Management(KM)
ผู้ใช้งานในระบบ LMS
สำหรับผู้ใช้งานในระบบ LMS นั้นสามารถที่จะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
• กลุ่มผู้บริหารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดตั้งระบบ LMS การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ การสำรองฐานข้อมูล การกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน
• กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Instructor / Teacher) : ทำหน้าที่ในการเพิ่มเนื้อหา บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับนักเรียน
• กลุ่มผู้เรียน(Student/Guest) : หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัครเข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทั้งการทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตั้งรหัสผ่านในการเข้าเรียนแต่ละวิชาได้
LMS User Level
รูปแสดง LMS Model
เปรียบเทียบ Moodle - ATutor
ระบบ LMS สองตัวนี้นับเป็น LMS ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในบ้านเรา บทความนี้ผมได้ทำการรวบรวมข้อมูลของ Moodle และ ATutor โดยได้ทำการ
เปรียบเทียบความสามารถของ LMS ทั้งสองตัวให้ดูกัน
* นำข้อมูลต้นฉบับมาจากเอกสารที่ผมใช้บรรยายใน งานสัมมนาทางวิชาการ เนื่องโอกาววันสถาปนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครบรอบ 27 ปี เรื่อง “บทบาทเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการเรียนการสอนในยุคดิจิตอล (Moodle vs ATutor)” ณ ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. จันทบุรี (7 ก.ย. 48)
บทความนี้คดลอกมาจาก http://www.cmsthailand.com/lms/index.html#lms8
รู้จัก LMS
LMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS ในปัจจุบันมีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะคือ
1.ซอฟต์แวร์ฟรี (Open Source LMS) ที่มีลิขสิทธิ์แบบ GPL เช่น • Moodle (www.moodle.org) Moodle is a course management system (CMS) - a free, Open Source software package designed using sound pedagogical principles, to help educators create effective online learning communities. • ATutor (www.atutor.ca) ATutor is an Open Source Web-based Learning Content Management System (LCMS) designed with accessibility and adaptability in mind. Administrators can install or update ATutor in minutes, develop custom templates to give ATutor a new look, and easily extend its functionality with feature modules. Educators can quickly assemble, package, and redistribute Web-based instructional content, easily retrieve and import prepackaged content, and conduct their courses online. Students learn in an adaptive learning environment. • Claroline (www.claroline.net) Claroline is a free application based on PHP/MySQL allowing teachers or education organizations to create and administrate courses through the web. • LearnSquare (www.learnsquare.com) เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดยทีมงาน NECTEC - ทดสอบเรียนบทเรียนต่างๆ • VClass (www.vclass.net) เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดยศูนย์ Distributed Education Center สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) • Sakai (www.sakaiproject.org) Sakai is an online open source Collaboration and Learning Environment. Many users of Sakai deploy it to support teaching and learning, ad hoc group collaboration, support for portfolios and research collaboration. • ILIAS (http://www.ilias.de) ILIAS is a powerful web-based learning management system that allows users to create, edit and publish learning and teaching material in an integrated system with their normal web browsers. Tools for cooperative working and communication are included as well. ILIAS is available as open source software under the GNU General Public License (GPL). Universities, educational institutions, private and public companies, and every interested person may use the system free of charge and contribute to its further development. • More... | 2. ซอฟต์แวร์ที่ บริษัทเอกชนพัฒนาเพื่อขายโดยเฉพาะ (Commercial LMS) เช่น • Blackboard Learning System - ตัวอย่างการใช้งานที่ Sasin Chula • WebCT (www.webct.com) • IBM Lotus Learning Management System • Education Sphere (www.educationsphere.com) - Sum Systems Management Co., Ltd. • Dell Learning System (DLS) > www.dell.com • De-Learn (www.de-learn.com) - Data E-Learning Co., Ltd. • i2 LMS (www.progress-info.co.th) - Progress Information Co.,Ltd • More... |
การนำระบบ LMS ไปประยุกต์ใช้งาน
ระบบ LMS สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลายอาทิ สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน โดยในการนำไปใช้งานผู้ใช้สามารถ ปรับการใช้งานให้เหมาะสมกับหน่วยงาน จุดประสงค์หลักในการพัฒนาระบบขึ้นมาก็เพื่อสร้างระบบการเรียนรู้ใช้งานใน หน่วยงานทั้งระบบ E-Learning หรือระบบ Knowledge Management(KM)
ผู้ใช้งานในระบบ LMS
สำหรับผู้ใช้งานในระบบ LMS นั้นสามารถที่จะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
• กลุ่มผู้บริหารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดตั้งระบบ LMS การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ การสำรองฐานข้อมูล การกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน
• กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Instructor / Teacher) : ทำหน้าที่ในการเพิ่มเนื้อหา บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับนักเรียน
• กลุ่มผู้เรียน(Student/Guest) : หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัครเข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทั้งการทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตั้งรหัสผ่านในการเข้าเรียนแต่ละวิชาได้
LMS User Level
รูปแสดง LMS Model
เปรียบเทียบ Moodle - ATutor
ระบบ LMS สองตัวนี้นับเป็น LMS ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในบ้านเรา บทความนี้ผมได้ทำการรวบรวมข้อมูลของ Moodle และ ATutor โดยได้ทำการ
เปรียบเทียบความสามารถของ LMS ทั้งสองตัวให้ดูกัน
* นำข้อมูลต้นฉบับมาจากเอกสารที่ผมใช้บรรยายใน งานสัมมนาทางวิชาการ เนื่องโอกาววันสถาปนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครบรอบ 27 ปี เรื่อง “บทบาทเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการเรียนการสอนในยุคดิจิตอล (Moodle vs ATutor)” ณ ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. จันทบุรี (7 ก.ย. 48)
Details | Moodle [ Download - ] | ATutor [ Download - ] | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
What is ? | Moodle is a course management system (CMS) - a free, Open Source software package designed using sound pedagogical principles, to help educators create effective online learning communities. You can download and use it on any computer you have handy (including webhosts), yet it can scale from a single-teacher site to a 40,000-student University (Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment) | ATutor is an Open Source Web-based Learning Content Management System (LCMS) designed with accessibility and adaptability in mind. Administrators can install or update ATutor in minutes, and develop custom templates to give ATutor a new look. Educators can quickly assemble, package, and redistribute Web-based instructional content, easily retrieve and import prepackaged content, and conduct their courses online. Students learn in an adaptive learning environment. | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ท่า | - www.moodle.org (Moodle Portal) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บท่าในไทย | - www.thaimoodle.net - ชมรม Moodle E-learning แห่งประเทศไทย - Moodle in Thailand (กลุ่มผู้สนใจการสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ Moodle เป็นเครื่องมือ ในประเทศไทย) | • www.thaiatutor.net (ไทยเอติวเตอร์) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้สร้าง | พัฒนาโดย Mr.Martin Dougiamas | พัฒนาโดย The Adaptive Technology Resource Center แห่งมหาวิทยาลัย Toronto ประเทศแคนาดา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้พัฒนา ภาษาไทย | ดร.วิมลลักษณ์ สิงหนาท | ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ (มศว.) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชมรม | รายนามคณะกรรมการชมรม Moodle E-Learning แห่งประเทศไทย
| ยังไม่มีการก่อตั้ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มาตรฐาน SCORM | รองรับมาตรฐาน SCORM 1.2 | รองรับมาตรฐาน SCORM 1.2 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Open Source | เป็น Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GPL(General Public License) | เป็น Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GPL(General Public License) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การติดตั้งใช้งาน | • ติดตั้งใช้งานเดี่ยวๆ ได้ • ติดตั้งเป็นโมดูลย่อยของ CMS ได้อาทิ PostNuke, XOOPS, Mambo, Drupal | • ติดตั้งใช้งานเดี่ยวๆ ได้ • ติดตั้งเป็นโมดูลย่อยของ CMS ได้อาทิ PostNuke, Mambo, Drupal | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาที่ใช้พัฒนา | • PHP | • PHP | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฐานข้อมูลที่รองรับ | • MySQL, PostgreSQL | • MySQL | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่รองรับ | • Apache (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) • IIS (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) | • Apache (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) • IIS (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Modules | Modules ที่ได้หลังการติดตั้ง (อยู่ในโฟลเดอร์ module) • assignment • chat • choice • forum • glossary • hotpot • journal • label • lesson • quiz • resource • scorm • survey • wiki • workshop | Modules ที่ได้หลังการติดตั้ง (อยู่ในโฟลเดอร์ tools) • backup • chat • content • enrollment • filemanager • forums • glossary • ims • links • news • packages (scorm-1.2) • polls • tests • tile • tracker | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Module สำหรับใช้งานร่วมกับระบบ CMS | • pnMoodle • Moodle4Xoops • drupal_moodle • Mambo Moodle | • pnATutor • Mambo ATutor • Drupal ATutor | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฉากหลังเว็บ (Themes) | • www.Thaimoodle.net • www.ballisticlearning.biz/moodlethemes | • http://www.atutor.ca/atutor/themes/ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาที่รองรับ(Language) Translation | รองรับกว่า 70 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย • http://download.moodle.org/lang/ | รองรับกว่า 50 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย • http://www.atutor.ca/atutor/translate/ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Demo | • http://moodle.org | • http://www.atutor.ca/atutor/demo.php | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ที่ใช้งานอยู่ | • http://moodle.org/sites/ | • http://www.atutor.ca/atutor/links.php | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คู่มือการติดตั้งภาษาไทย | • คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน โดย ดร.วิมลลักษณ์ สิงหนาท • คู่มือการใช้งานระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) Moodle ระยะที่ 1 โดยศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.วลัยลักษณ์ • คู่มือ moodle สำหรับผู้ดูแลระบบ จาก โครงการหนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน • จากชมรม Moodle • คู่มือติดตั้ง Moodle จาก cmsthailand • คู่มือใช้งาน Moodle จาก ม.สุรนารี | • คู่มือการใช้งาน ATutor (ภาคปฏิบัติ) จากเว็บไทยเอติวเตอร์ จัดทำโดย ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ • คู่มือติดตั้ง ATutor จาก cmsthailand | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คู่มือการติดตั้งภาษาอังกฤษ Documentation | • Moodle Docs | • ATutor Handbook |
ความต้องการด้านซอฟต์แวร์ (Software Requirements) | • Apache หรือ IIS > โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ • PHP > ตัวแปลภาษาพีเฮสพี • MySQL > ฐานข้อมูล MySQL • phpMyAdmin > ทูลช่วยจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล * กรณีทดสอบใช้งานในเครื่องตนเองแนะนำให้ติดตั้งซอฟต์แวร์ประเภท Server Utility เพราะภายหลังการติดตั้งท่านจะได้ทั้ง apache, php, mysql, phpmyadmin ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ อาทิ • AppServ • WMServer • easyPHP • WinLAMP • WAMP (ปล. กรณีต้องการเช่า Hosting ทางโฮสต์ต้องรองรับ PHP, MySQL และมี phpMyAdmin ในการจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล) | • Apache หรือ IIS > โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ • PHP > ตัวแปลภาษาพีเฮสพี • MySQL > ฐานข้อมูล MySQL • phpMyAdmin > ทูลช่วยจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล * กรณีทดสอบใช้งานในเครื่องตนเองแนะนำให้ติดตั้งซอฟต์แวร์ประเภท Server Utility เพราะภายหลังการติดตั้งท่านจะได้ทั้ง apache, php, mysql, phpmyadmin ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ อาทิ • AppServ • WMServer • easyPHP • WinLAMP • WAMP (ปล. กรณีต้องการเช่า Hosting ทางโฮสต์ต้องรองรับ PHP, MySQL และมี phpMyAdmin ในการจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล) |
|
วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วิธีการติดตั้ง Broadcom Driver (Wireless Adapter) ใน ubuntu 9.04 x86_64
อ้างอิงจาก
http://opensource.cc.psu.ac.th/ติดตั้ง_Broadcom_Driver_(Wireless_LAN)_บน_Ubuntu
1.update ให้ทุกอย่างเป็น Version ใหม่สุดก่อน
2.ใช้คำสั่ง lspci ดูว่าเราใช้ Network Adapter ใด
lspci -vnn | grep -i wlan
ผลที่ได้คือ
10:00.0 Network controller [0280]: Broadcom Corporation BCM4311 802.11b/g WLAN [14e4:4311] (rev 02)
สังเกตค่าในวงเล็บ [] หลัง WLAN ในที่นี้เป็น [14e4:4311]
3. นำค่าดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับตารางที่ Website นี้
http://linuxwireless.org/en/users/Drivers/b43#Known_PCI_devices
ดังตัวอย่าง พบว่า 14e4:4311 ใช้ Driver เป็น b43 (เทียบแล้วดูในคอลัมน์ Driver, ท้ายสุดของตาราง)
4. หากเครื่องต่ออินเตอร์เน็ดได้อยู่ (อาจใช้ Wired Lan) ก็ให้ใช้คำสั่ง
ผู้ใช้ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ทำการกำหนดค่า proxy ด้วยวิธีนี้ ก่อน
export http_proxy=http://cache.psu.ac.th:8080
แล้วใช้คำสั่ง
sudo apt-get install b43-fwcutter
ระบบจะถามว่าจะติดตั้งหรือไม่ ให้ตอบ Yes
จากนั้น รอให้ระบบทำงานเสร็จ
หากไม่สามารถต่ออินเตอร์เน็ดได้
- ให้ติดตั้ง b43-fwcutter จากแผ่น
- ดาวน์โหลด โดยใช้เครื่องที่ต่ออินเตอร์เน็ตได้
http://downloads.openwrt.org/sources/wl_apsta-3.130.20.0.o
http://downloads.openwrt.org/sources/broadcom-wl-4.80.53.0.tar.bz2
- นำ 2 ไฟล์ดังกล่าวมาใส่ในเครื่อง แล้วใช้คำสั่ง
sudo b43-fwcutter -w /lib/firmware wl_apsta-3.130.20.0.o
tar xfvj broadcom-wl-4.80.53.0.tar.bz2
sudo b43-fwcutter --unsupported -w /lib/firmware broadcom-wl-4.80.53.0/kmod/wl_apsta_mimo.o
5. ตรวจสอบว่าติดตั้ง Driver ได้จริงหรือไม่ ด้วยคำสั่ง
lsmod | grep b43
ถ้าได้ผลลัพธ์ประมาณนี้ ก็ใช้งานได้
b43 145192 0
mac80211 251528 1 b43
led_class 13064 2 b43,leds_hp_disk
input_polldev 12688 1 b43
ssb 46724 1 b43
Restart เครื่อง เป็นอันเสร็จพิธี
http://opensource.cc.psu.ac.th/ติดตั้ง_Broadcom_Driver_(Wireless_LAN)_บน_Ubuntu
1.update ให้ทุกอย่างเป็น Version ใหม่สุดก่อน
2.ใช้คำสั่ง lspci ดูว่าเราใช้ Network Adapter ใด
lspci -vnn | grep -i wlan
ผลที่ได้คือ
10:00.0 Network controller [0280]: Broadcom Corporation BCM4311 802.11b/g WLAN [14e4:4311] (rev 02)
สังเกตค่าในวงเล็บ [] หลัง WLAN ในที่นี้เป็น [14e4:4311]
3. นำค่าดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับตารางที่ Website นี้
http://linuxwireless.org/en/users/Drivers/b43#Known_PCI_devices
ดังตัวอย่าง พบว่า 14e4:4311 ใช้ Driver เป็น b43 (เทียบแล้วดูในคอลัมน์ Driver, ท้ายสุดของตาราง)
4. หากเครื่องต่ออินเตอร์เน็ดได้อยู่ (อาจใช้ Wired Lan) ก็ให้ใช้คำสั่ง
ผู้ใช้ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ทำการกำหนดค่า proxy ด้วยวิธีนี้ ก่อน
export http_proxy=http://cache.psu.ac.th:8080
แล้วใช้คำสั่ง
sudo apt-get install b43-fwcutter
ระบบจะถามว่าจะติดตั้งหรือไม่ ให้ตอบ Yes
จากนั้น รอให้ระบบทำงานเสร็จ
หากไม่สามารถต่ออินเตอร์เน็ดได้
- ให้ติดตั้ง b43-fwcutter จากแผ่น
- ดาวน์โหลด โดยใช้เครื่องที่ต่ออินเตอร์เน็ตได้
http://downloads.openwrt.org/sources/wl_apsta-3.130.20.0.o
http://downloads.openwrt.org/sources/broadcom-wl-4.80.53.0.tar.bz2
- นำ 2 ไฟล์ดังกล่าวมาใส่ในเครื่อง แล้วใช้คำสั่ง
sudo b43-fwcutter -w /lib/firmware wl_apsta-3.130.20.0.o
tar xfvj broadcom-wl-4.80.53.0.tar.bz2
sudo b43-fwcutter --unsupported -w /lib/firmware broadcom-wl-4.80.53.0/kmod/wl_apsta_mimo.o
5. ตรวจสอบว่าติดตั้ง Driver ได้จริงหรือไม่ ด้วยคำสั่ง
lsmod | grep b43
ถ้าได้ผลลัพธ์ประมาณนี้ ก็ใช้งานได้
b43 145192 0
mac80211 251528 1 b43
led_class 13064 2 b43,leds_hp_disk
input_polldev 12688 1 b43
ssb 46724 1 b43
Restart เครื่อง เป็นอันเสร็จพิธี
วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
การติดตั้ง GIMP 2.7 สำหรับ UBUNTU 9.10
เปิดเทอร์มินอล ขึ้นมาแล้ว
ให้เพิ่ม sources.list ก่อน ตามนี้ครับ
สำหรับ Ubuntu Jaunty:
สำหรับ Ubuntu Karmic:
จากนั้นยืนยันตัวจริงด้วย PGP Key ตามนี้ครับ
เมื่อครบแล้ว ให้สั่งปรับปรุงรุ่นด้วยคำสั่งนี้
หมายเหตุ: หากมีข้อความฟ้อง error ดังนี้
หรือหากเปิด GIMP แล้วไม่สามารถเปิดใช้งานได้ให้ติดตั้ง libgegl: ดังนี้ครับ
หลังจากอัพเดตเรียบร้อย เปิดโปรแกรมขึ้นมา หน้าต่างมันยังแยกกันอยู่ อยากจะรวมเป็นหน้าต่างเดียว
ให้ไปที่ เมนู Windows เลือกที่ Single-window mode ก็จะได้หน้าต่างเดียวกันเหมือนที่อยากได้ครับ แต่มันไม่ดีฟอร์ล พอปิดแล้วเปิดใหม่จะกลับไปที่สามหน้าต่างเหมือนเดิม แต่อนาคตตามข่าวว่าปลายปี 2010 จะเป็นตัวหน้าต่างเดียวตั้งแต่แรกคงต้องรอกันต่อไปจนกว่าจะออกครับ
อ้างอิงจาก : http://www.webupd8.org/2009/08/how-to-install-gimp-27-in-ubuntu-jaunty.html
ให้เพิ่ม sources.list ก่อน ตามนี้ครับ
สำหรับ Ubuntu Jaunty:
Code: [Select]
sudo sh -c "echo 'deb http://ppa.launchpad.net/matthaeus123/mrw-gimp-svn/ubuntu jaunty main' >> /etc/apt/sources.list"
สำหรับ Ubuntu Karmic:
Code: [Select]
sudo sh -c "echo 'deb http://ppa.launchpad.net/matthaeus123/mrw-gimp-svn/ubuntu karmic main' >> /etc/apt/sources.list"
จากนั้นยืนยันตัวจริงด้วย PGP Key ตามนี้ครับ
Code: [Select]
sudo apt-key adv --recv-keys --keyserver keyserver.ubuntu.com 405A15CB
เมื่อครบแล้ว ให้สั่งปรับปรุงรุ่นด้วยคำสั่งนี้
Code: [Select]
sudo apt-get update && sudo apt-get upgrade
หมายเหตุ: หากมีข้อความฟ้อง error ดังนี้
Code: [Select]
gimp-2.7: error while loading shared libraries: libgegl-0.1.so.0: cannot open shared object file: No such file or directory
หรือหากเปิด GIMP แล้วไม่สามารถเปิดใช้งานได้ให้ติดตั้ง libgegl: ดังนี้ครับ
Code: [Select]
sudo apt-get install libgegl-0.0-0
หลังจากอัพเดตเรียบร้อย เปิดโปรแกรมขึ้นมา หน้าต่างมันยังแยกกันอยู่ อยากจะรวมเป็นหน้าต่างเดียว
ให้ไปที่ เมนู Windows เลือกที่ Single-window mode ก็จะได้หน้าต่างเดียวกันเหมือนที่อยากได้ครับ แต่มันไม่ดีฟอร์ล พอปิดแล้วเปิดใหม่จะกลับไปที่สามหน้าต่างเหมือนเดิม แต่อนาคตตามข่าวว่าปลายปี 2010 จะเป็นตัวหน้าต่างเดียวตั้งแต่แรกคงต้องรอกันต่อไปจนกว่าจะออกครับ
อ้างอิงจาก : http://www.webupd8.org/2009/08/how-to-install-gimp-27-in-ubuntu-jaunty.html
วันพุธที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2553
วิธี Restore Grub บน UBUTU 9.10 KarmicKoala
วิธดังนี้ครับ
- Boot Ubuntu 9.10 Desktop CD ก่อนครับ
- หลังจากเข้าระบบเรียบร้อยแล้วก็ เปิด Terminal ขึ้นมาเลยครับ
- พิมพ์คำสั่งครับ
sudo fdisk -l
พาร์ทิชั่นต่างๆก็จะถูกแสดงขึ้นมา ให้ดูไว้ครับ ว่าพาร์ทิชั่นไหนที่มันเป็น Linux - พิมพ์ต่อเลยครับ
sudo mount /dev/sda12 /mnt
(แทนที่ "sda12" ด้วยพาทิชั่นที่ดูมาครับ) - สั่งต่อครับ
sudo grub-install –root-directory=/mnt “path”
(แทนที่ "path" ด้วย device ID ครับ) - unmount ครับ สั่ง
sudo unmount /mnt
- รีสตาร์ทแล้วรอดูผลลัพธ์ครับ
ที่มา: http://ubuntuclub.com/node/1684
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)