บทความนี้คดลอกมาจาก http://www.cmsthailand.com/lms/index.html#lms8
รู้จัก LMS
LMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS ในปัจจุบันมีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะคือ
1.ซอฟต์แวร์ฟรี (Open Source LMS) ที่มีลิขสิทธิ์แบบ GPL เช่น • Moodle (www.moodle.org) Moodle is a course management system (CMS) - a free, Open Source software package designed using sound pedagogical principles, to help educators create effective online learning communities. • ATutor (www.atutor.ca) ATutor is an Open Source Web-based Learning Content Management System (LCMS) designed with accessibility and adaptability in mind. Administrators can install or update ATutor in minutes, develop custom templates to give ATutor a new look, and easily extend its functionality with feature modules. Educators can quickly assemble, package, and redistribute Web-based instructional content, easily retrieve and import prepackaged content, and conduct their courses online. Students learn in an adaptive learning environment. • Claroline (www.claroline.net) Claroline is a free application based on PHP/MySQL allowing teachers or education organizations to create and administrate courses through the web. • LearnSquare (www.learnsquare.com) เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดยทีมงาน NECTEC - ทดสอบเรียนบทเรียนต่างๆ • VClass (www.vclass.net) เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดยศูนย์ Distributed Education Center สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) • Sakai (www.sakaiproject.org) Sakai is an online open source Collaboration and Learning Environment. Many users of Sakai deploy it to support teaching and learning, ad hoc group collaboration, support for portfolios and research collaboration. • ILIAS (http://www.ilias.de) ILIAS is a powerful web-based learning management system that allows users to create, edit and publish learning and teaching material in an integrated system with their normal web browsers. Tools for cooperative working and communication are included as well. ILIAS is available as open source software under the GNU General Public License (GPL). Universities, educational institutions, private and public companies, and every interested person may use the system free of charge and contribute to its further development. • More... | 2. ซอฟต์แวร์ที่ บริษัทเอกชนพัฒนาเพื่อขายโดยเฉพาะ (Commercial LMS) เช่น • Blackboard Learning System - ตัวอย่างการใช้งานที่ Sasin Chula • WebCT (www.webct.com) • IBM Lotus Learning Management System • Education Sphere (www.educationsphere.com) - Sum Systems Management Co., Ltd. • Dell Learning System (DLS) > www.dell.com • De-Learn (www.de-learn.com) - Data E-Learning Co., Ltd. • i2 LMS (www.progress-info.co.th) - Progress Information Co.,Ltd • More... |
การนำระบบ LMS ไปประยุกต์ใช้งาน
ระบบ LMS สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลายอาทิ สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน โดยในการนำไปใช้งานผู้ใช้สามารถ ปรับการใช้งานให้เหมาะสมกับหน่วยงาน จุดประสงค์หลักในการพัฒนาระบบขึ้นมาก็เพื่อสร้างระบบการเรียนรู้ใช้งานใน หน่วยงานทั้งระบบ E-Learning หรือระบบ Knowledge Management(KM)
ผู้ใช้งานในระบบ LMS
สำหรับผู้ใช้งานในระบบ LMS นั้นสามารถที่จะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
• กลุ่มผู้บริหารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดตั้งระบบ LMS การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ การสำรองฐานข้อมูล การกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน
• กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Instructor / Teacher) : ทำหน้าที่ในการเพิ่มเนื้อหา บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับนักเรียน
• กลุ่มผู้เรียน(Student/Guest) : หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัครเข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทั้งการทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตั้งรหัสผ่านในการเข้าเรียนแต่ละวิชาได้
LMS User Level
รูปแสดง LMS Model
เปรียบเทียบ Moodle - ATutor
ระบบ LMS สองตัวนี้นับเป็น LMS ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในบ้านเรา บทความนี้ผมได้ทำการรวบรวมข้อมูลของ Moodle และ ATutor โดยได้ทำการ
เปรียบเทียบความสามารถของ LMS ทั้งสองตัวให้ดูกัน
* นำข้อมูลต้นฉบับมาจากเอกสารที่ผมใช้บรรยายใน งานสัมมนาทางวิชาการ เนื่องโอกาววันสถาปนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครบรอบ 27 ปี เรื่อง “บทบาทเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการเรียนการสอนในยุคดิจิตอล (Moodle vs ATutor)” ณ ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. จันทบุรี (7 ก.ย. 48)
Details | Moodle [ Download - ] | ATutor [ Download - ] | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
What is ? | Moodle is a course management system (CMS) - a free, Open Source software package designed using sound pedagogical principles, to help educators create effective online learning communities. You can download and use it on any computer you have handy (including webhosts), yet it can scale from a single-teacher site to a 40,000-student University (Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment) | ATutor is an Open Source Web-based Learning Content Management System (LCMS) designed with accessibility and adaptability in mind. Administrators can install or update ATutor in minutes, and develop custom templates to give ATutor a new look. Educators can quickly assemble, package, and redistribute Web-based instructional content, easily retrieve and import prepackaged content, and conduct their courses online. Students learn in an adaptive learning environment. | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ท่า | - www.moodle.org (Moodle Portal) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บท่าในไทย | - www.thaimoodle.net - ชมรม Moodle E-learning แห่งประเทศไทย - Moodle in Thailand (กลุ่มผู้สนใจการสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ Moodle เป็นเครื่องมือ ในประเทศไทย) | • www.thaiatutor.net (ไทยเอติวเตอร์) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้สร้าง | พัฒนาโดย Mr.Martin Dougiamas | พัฒนาโดย The Adaptive Technology Resource Center แห่งมหาวิทยาลัย Toronto ประเทศแคนาดา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้พัฒนา ภาษาไทย | ดร.วิมลลักษณ์ สิงหนาท | ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ (มศว.) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชมรม | รายนามคณะกรรมการชมรม Moodle E-Learning แห่งประเทศไทย
| ยังไม่มีการก่อตั้ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มาตรฐาน SCORM | รองรับมาตรฐาน SCORM 1.2 | รองรับมาตรฐาน SCORM 1.2 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Open Source | เป็น Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GPL(General Public License) | เป็น Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GPL(General Public License) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การติดตั้งใช้งาน | • ติดตั้งใช้งานเดี่ยวๆ ได้ • ติดตั้งเป็นโมดูลย่อยของ CMS ได้อาทิ PostNuke, XOOPS, Mambo, Drupal | • ติดตั้งใช้งานเดี่ยวๆ ได้ • ติดตั้งเป็นโมดูลย่อยของ CMS ได้อาทิ PostNuke, Mambo, Drupal | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาที่ใช้พัฒนา | • PHP | • PHP | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฐานข้อมูลที่รองรับ | • MySQL, PostgreSQL | • MySQL | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่รองรับ | • Apache (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) • IIS (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) | • Apache (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) • IIS (+ ต้องติดตั้ง PHP, MySQL, phpMyAdmin เพิ่มเติม) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Modules | Modules ที่ได้หลังการติดตั้ง (อยู่ในโฟลเดอร์ module) • assignment • chat • choice • forum • glossary • hotpot • journal • label • lesson • quiz • resource • scorm • survey • wiki • workshop | Modules ที่ได้หลังการติดตั้ง (อยู่ในโฟลเดอร์ tools) • backup • chat • content • enrollment • filemanager • forums • glossary • ims • links • news • packages (scorm-1.2) • polls • tests • tile • tracker | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Module สำหรับใช้งานร่วมกับระบบ CMS | • pnMoodle • Moodle4Xoops • drupal_moodle • Mambo Moodle | • pnATutor • Mambo ATutor • Drupal ATutor | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฉากหลังเว็บ (Themes) | • www.Thaimoodle.net • www.ballisticlearning.biz/moodlethemes | • http://www.atutor.ca/atutor/themes/ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาที่รองรับ(Language) Translation | รองรับกว่า 70 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย • http://download.moodle.org/lang/ | รองรับกว่า 50 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย • http://www.atutor.ca/atutor/translate/ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Demo | • http://moodle.org | • http://www.atutor.ca/atutor/demo.php | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ที่ใช้งานอยู่ | • http://moodle.org/sites/ | • http://www.atutor.ca/atutor/links.php | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คู่มือการติดตั้งภาษาไทย | • คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน โดย ดร.วิมลลักษณ์ สิงหนาท • คู่มือการใช้งานระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) Moodle ระยะที่ 1 โดยศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.วลัยลักษณ์ • คู่มือ moodle สำหรับผู้ดูแลระบบ จาก โครงการหนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน • จากชมรม Moodle • คู่มือติดตั้ง Moodle จาก cmsthailand • คู่มือใช้งาน Moodle จาก ม.สุรนารี | • คู่มือการใช้งาน ATutor (ภาคปฏิบัติ) จากเว็บไทยเอติวเตอร์ จัดทำโดย ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ • คู่มือติดตั้ง ATutor จาก cmsthailand | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คู่มือการติดตั้งภาษาอังกฤษ Documentation | • Moodle Docs | • ATutor Handbook |
ความต้องการด้านซอฟต์แวร์ (Software Requirements) | • Apache หรือ IIS > โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ • PHP > ตัวแปลภาษาพีเฮสพี • MySQL > ฐานข้อมูล MySQL • phpMyAdmin > ทูลช่วยจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล * กรณีทดสอบใช้งานในเครื่องตนเองแนะนำให้ติดตั้งซอฟต์แวร์ประเภท Server Utility เพราะภายหลังการติดตั้งท่านจะได้ทั้ง apache, php, mysql, phpmyadmin ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ อาทิ • AppServ • WMServer • easyPHP • WinLAMP • WAMP (ปล. กรณีต้องการเช่า Hosting ทางโฮสต์ต้องรองรับ PHP, MySQL และมี phpMyAdmin ในการจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล) | • Apache หรือ IIS > โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ • PHP > ตัวแปลภาษาพีเฮสพี • MySQL > ฐานข้อมูล MySQL • phpMyAdmin > ทูลช่วยจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล * กรณีทดสอบใช้งานในเครื่องตนเองแนะนำให้ติดตั้งซอฟต์แวร์ประเภท Server Utility เพราะภายหลังการติดตั้งท่านจะได้ทั้ง apache, php, mysql, phpmyadmin ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ อาทิ • AppServ • WMServer • easyPHP • WinLAMP • WAMP (ปล. กรณีต้องการเช่า Hosting ทางโฮสต์ต้องรองรับ PHP, MySQL และมี phpMyAdmin ในการจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล) |
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น