1.วิธีการ
2.การ
2.1 คัดเลือกสายพันธุ์หรือพืชต้นที่มีลักษณะดีไว้จำนวนหนึ่ง ยิ่งมากยิ่งดี
2.2 นำเมล็ดจากต้นที่คัดเลือกไปปลูกแบบต้นและแถว ในสภาพของแปลงปลูกที่มีความสม่ำเสมอกัน แล้วคัดเลือกสายพันธุ์หรือต้นที่ดีจากแถวที่ดีไว้ คัดทิ้งแถวที่มีลักษณะเลวหรือไม่ต้องการออกไป ทำการคัดเลือกเช่นนี้ต่อไปหลาย ๆ ชั่วให้เหลือสายพันธุ์ที่ดีจริง ๆ เพียงไม่กี่สายพันธุ์
2.3 เมื่อไม่สามารถแยกความแตกต่างของสายพันธุ์ด้วยสายตายแล้ว จึงนำสายพันธุ์ที่ผ่านการคัดเลือกมาแล้ว ไปคัดเลือกแบบหลายชุดซ้ำกัน โดยมีพันธุ์มาตรฐานมาร่วมเปรียบเทียบด้วย เพื่อให้การคัดเหลือมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถเปรียบเทียบผลิตผลของสายพันธุ์ได้ด้วย
การคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์เป็นวิธีที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผสมพันธุ์
3. การคัดเลือก
4.การผ
4.1 ปลูก ลูก ผสม ชั่ว ที่ สอง (F(...)) จำนวน มาก ว่า 1,000 ต้น ขึ้น ไป ยิ่ง มาก ยิ่ง ดี โดย ใช้ วิธี การ และ ระยะ ปลูก ตาม แบบ การ ปลูก แบบ การ ค้า ทั่ว ไป
4.2 เก็บ เกี่ยว ทั้ง แปลง รวม เมล็ด เข้า ด้วย กัน ทั้ง หมด แล้ว ปลูก ใน ชั่ว ต่อ ไป เหมือน ปลูก F(...) ทำ ซ้ำ ต่อ ไป หลาย ๆ ชั่ว ต้น ที่ มี ลักษณะ ไม่ ดี จะ ตาย ไป เอง ตาม ธรรม ชาติ เพราะ ไม่ สามารถ เบียด เสียด แข่งกับต้น ที่ ทน ทาน ได้
4.3 คัด ทิ้ง ต้น ที่ มี ลักษณะ เลว ที่ เห็น ได้ ชัด ออก บ้าง
4.4. หลัง จาก ชั่ว ที่ ๓ แล้ว อาจ ใช้ เป็น พันธุ์ ส่ง เสริม ได้ ทัน ที หรือ คัด เลือก แบบ รู้ ประวัติ ต่อ ไป จน กว่า จะ ได้ พันธุ์ บริสุทธิ์ ที่ดี
5. การผ สม แบบ กลับ ทาง เป็นการปรับปรุงพันธุ์ พืช บาง พันธุ์ มี ลักษณะ ดี หลาย อย่าง อยู่ แล้ว และ เป็น พันธุ์ ที่ ใช้ กัน อย่าง แพร่ หลาย อยู่ แล้ว ใน ท้อง ถิ่น แต่ ขาด ลักษณะ ที่ ต้อง การ บา งอย่าง หาก มี ความ ประสงค์ จะ ปรับ ปรุง ให้ มี ลักษณะ ที่ ขาด นั้น เพิ่ม ขึ้น ใน พันธุ์ จะ ต้อง ใช้ การ ผสม แบบ กลับ ทาง ซึ่ง มี วิธี การ ดัง นี้
5.1 ผสมระหว่างพันธุ์ A ที่ต้องการนำไปปรับปรุงพันธุ์ให้ดีขึ้นกับพันธุ์ B ที่มียีนดี ซึ่งพันธุ์ A ขาดอยู่ และต้องการเพิ่ม
5.2 นำลูกผสมชั่วที่ ๑ (F1) ไปผสมกลับกับพันธุ์ A เป็นพันธุ์ A2x B เมื่อเก็บเกี่ยวเลือกเฉพาะต้นที่มีลักษณะพันธุ์ B อยู่ด้วย
5.3 ผสมตัวเองพันธุ์ A2x B เพื่อปลูกเป็น F2ของพันธุ์ A2x B แล้วคัดเลือกต้นที่มีลักษณะ A และ B อยู่ด้วย เพื่อปลูกเป็นลูก-ผสมชั่วที่ ๓ (F3)
5.4 ผสม (F3) ของ A2x B กับพันธุ์ A เพื่อให้ได้พันธุ์ A3x B
5.6 ผสม A3x B กับพันธุ์ A เพื่อให้ได้พันธุ์ A4x B
5.7 ผสมลูกผสมกลับไปยังพันธุ์ A เรื่อย ๆ จนถึง A6x B
5.8 รวบรวมสายพันธุ์แท้ที่มีลักษณะของพันธุ์ A และ B เข้าด้วยกันเพื่อขยายใช้เป็นพันธุ์ส่งเสริมต่อไป
5.2 นำลูกผสมชั่วที่ ๑ (F1) ไปผสมกลับกับพันธุ์ A เป็นพันธุ์ A2x B เมื่อเก็บเกี่ยวเลือกเฉพาะต้นที่มีลักษณะพันธุ์ B อยู่ด้วย
5.3 ผสมตัวเองพันธุ์ A2x B เพื่อปลูกเป็น F2ของพันธุ์ A2x B แล้วคัดเลือกต้นที่มีลักษณะ A และ B อยู่ด้วย เพื่อปลูกเป็นลูก-ผสมชั่วที่ ๓ (F3)
5.4 ผสม (F3) ของ A2x B กับพันธุ์ A เพื่อให้ได้พันธุ์ A3x B
5.6 ผสม A3x B กับพันธุ์ A เพื่อให้ได้พันธุ์ A4x B
5.7 ผสมลูกผสมกลับไปยังพันธุ์ A เรื่อย ๆ จนถึง A6x B
5.8 รวบรวมสายพันธุ์แท้ที่มีลักษณะของพันธุ์ A และ B เข้าด้วยกันเพื่อขยายใช้เป็นพันธุ์ส่งเสริมต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น